Page 16 - M2F - 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
P. 16
16 WORK & LIFE วันพุธที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
เมื่อฝรั่งเศส
เบนโตะ
GR UND ทำ�คว�มรู้จักกับ
BREAKER เบนโตะ
บนโตะ (Bento) เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่งของชาวญี่ปุ่น ในฝรั่งเศส หรือแม้แต่ในยุโรปทั้งทวีปก็ไม่ใช่เรื่อง่าย
เสำาหรับใส่อาหารไปรับประทานนอกบ้าน ซึ่งคนไทยที่ชอบ เธอจึงเกิดความคิดที่จะแนะนำาเบนโตะกับชาวฝรั่งเศส
อาหารญี่ปุ่นคงจะคุ้นเคยกันดี เพราะเดี๋ยวนี้มีร้านอาหาร หลังจากทำางานนักกายภาพบำาบัดในปารีสมานาน 4 ปี เธอจึง
หลายแห่งมีชุดอาหารแบบเบนโตะให้บริการ คือเป็น ตัดสินใจลาออก แล้วมุ่งมั่นสร้างเบนโตะเพื่อจัดจำาหน่ายใน
ชุดอาหารที่ทำาเลียนแบบอาหารชุดที่คุณแม่หรือภรรยาทำาให้ ฝรั่งเศส โดยมีบริษัทอยู่ที่ จ.แคร์มองต์-แฟร์รงด์ ในแคว้น
สามีหรือลูกๆ ไปรับประทานที่โรงเรียนหรือที่ทำางาน เรียกว่า โอแวร์ญ-โรนาลป์ จนกลายมาเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อว่า
เป็น Comfort food หรืออาหารให้ความรู้สึกนึกถึงครอบครัว Monbento ซึ่งในภาษาฝรั่งเศสแปลว่า “เบนโตะของฉัน”
อันอบอุ่นแบบหนึ่ง Monbento ได้รับการออกแบบให้มีรูปลักษณ์โมเดิร์นถูกใจ
แต่จริงๆ แล้ว เบนโตะมีรากศัพท์เดียวกับคำาว่า ปิ่นโต คนฝรั่งเศสรุ่นใหม่ พร้อมด้วยฟังก์ชั่นที่เหนือกว่าการใช้เป็น
ของไทย หมายถึงภาชนะที่ใส่อาหารเป็นกล่อง หรือเป็นชั้นๆ ที่ใส่อาหาร ปรากฏว่าผลิตภัณฑ์นี้ได้รับความนิยมอย่างมาก
สำาหรับนำาติดตัวไปรับประทานที่ไหนต่อไหน และคำาว่าปิ่นโต จนน่าเหลือเชื่อ โดยขายไปได้ถึง 1 ล้านชิ้นแล้ว นับตั้งแต่
เองก็มาจากภาษาจีนว่า เปี้ยนตัง (biàndāng) แปลว่า เปิดบริษัทในปี 2009
กล่องสะดวก และในเวลานี้ยังมีการจัดจำาหน่ายใน 76 ประเทศทั่วโลก จุดขายสำาคัญของ Monbento ในยุโรปก็คือ การแนะนำา
นอกจากญี่ปุ่น ไทย และจีนแล้ว ประเทศในเอเชีย โดยมีอัตราการส่งออกคิดเป็นสัดส่วนถึง 60% ของสินค้า ว่ามันเป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยให้การรับประทานอาหารง่ายขึ้น
ตะวันออกเกือบทั้งหมดมีวัฒนธรรมการทำาอาหารไป ที่ผลิตทั้งหมด ปัจจุบันมีสำานักงานสาขาทั้งในนิวยอร์ก ฮ่องกง ช่วยประหยัดเงินที่จะต้องซื้ออาหารข้างนอก ช่วยลดขยะ
รับประทานนอกบ้านโดยใส่ภาชนะคล้ายๆ แม้แต่อินเดีย และเซี่ยงไฮ้ เพราะมันสามารถนำากลับมาใช้ใหม่ได้ และที่สำาคัญมัน
ก็มีการใช้ปิ่นโตอย่างแพร่หลาย ทำาให้กล่องใส่อาหาร หรือ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เบนโตะแบบญี่ปุ่นพลอยได้รับความนิยมไปด้วย ความสำาเร็จของ Monbento ต้องยกให้กับความกล้าได้
อย่างไรก็ตาม ในยุโรปไม่คุ้นกับวัฒนธรรมแบบนี้ เมื่อ กล้าเสีย กล้าริเริ่มสิ่งใหม่ของเจ้าของไอเดีย แม้แต่ทีมงาน
พูดถึงเบนโตะ หรืออาหารกล่อง หลายคนแทบไม่เคยรู้จัก ของเธอก็ยังออกปากกับสื่อว่า เอมิลี เป็นคนที่กล้าเสี่ยงดี
โดยเฉพาะในฝรั่งเศส ที่ภูมิอกภูมิใจกับวัฒนธรรมการกิน จริงๆ
ของตัวเองเป็นหนักหนา การนำาเบนโตะเข้ามาเหมือนเป็นการ เธอมีทุกวันนี้ได้เพราะการกล้าตัดสินใจที่จะออกจากงาน
ท้าทายความเป็นชาตินิยมด้านอาหารอยู่พอสมควร เดิมๆ กล้าที่จะทุ่มกับเงินติดตัวแค่ 30,000 ยูโร และกล้าที่จะ
แต่มีคนฝรั่งเศสคนหนึ่งกล้าทำาอะไรใหม่ๆ ด้วยการนำา แนะนำาสิ่งที่คนในพื้นที่ไม่รู้จักมาก่อน
เบนโตะมาเผยแพร่ให้คนฝรั่งเศสได้รู้จัก พร้อมกับผลักดันให้ กล่องเบนโตะธรรมดาๆ จากฝรั่งเศสก็มีเรื่องราว
มันเป็นอุปกรณ์ทำาครัวชิ้นใหม่ ที่คนฝรั่งเศสยุคใหม่จะต้องมี ที่น่าชื่นชมไม่น้อยเช่นกัน
เจ้าของไอเดียคือ เอมิลี ครูซิเออซ์ (Emilie Creuzieux)
ซึ่งเคยเป็นนักกายภาพบำาบัดมาก่อน แต่มีความหลงใหล
ในวัฒนธรรมเอเชีย โดยเฉพาะญี่ปุ่น
ด้วยลักษณะงานของเธอที่ต้องใช้ความทุ่มเทแรงกาย
แรงใจเป็นอย่างมาก ทำาให้ไม่ค่อยมีเวลาพักรับประทาน
อาหารกลางวันยาวนานนัก ตรงข้ามกับชาวฝรั่งเศสส่วนใหญ่
ที่ใช้เวลารับประทานอาหารกลางวันนานถึง 45 นาที
เทียบกับชาวอเมริกันใช้เวลาเพียง 15-30 นาที
จนกระทั่งตอนที่เธออายุได้ 26 ปี เธอได้รู้จักกับเบนโตะ
เป็นครั้งแรก เบนโตะช่วยให้เธอกินอาหารได้อย่างมีความสุข
มากขึ้น มีโภชนาการที่ดีขึ้น แถมเพื่อนๆ สาวก็ยังพลอยชอบ
เบนโตะกันไปด้วย ปัญหาก็คือ หาซื้อเบนโตะได้ยาก