Page 17 - M2F - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
P. 17

WORK & LIFE                17
        วันศุกร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561






               นขณะที่บ้านเราเพิ่งจะได้ยินคำาว่า “สตาร์ทอัพ” อย่าง  ถึงช่วงนี้จะเกิดการหาทางออกต่างๆ เพื่อให้สถานการณ์
             ใหนาหูเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา แต่ในต่างประเทศนั้นกลับมี   เศรษฐกิจกลับมาเป็นปกติโดยเร็ว เมื่อวิกฤตผ่านพ้นก็จะเข้า
             ผู้เชี่ยวชาญมองว่า ยุคทองของสตาร์ทอัพกำาลังจะสิ้นสุดลง  สู่ยุคทอง ก่อนที่ทุกอย่างจะเริ่มอิ่มตัวและถดถอยกลับเข้าสู่  TechCrunch ระบุว่า ยุคอินเทอร์เน็ตในช่วงปี 1997-
             แล้ว และกระแสการทำาธุรกิจจะกลับไปสู่วงจรเดิม นั่นคือ   วงจรแห่งการเริ่มต้นใหม่อีกครั้ง         2006 ถือเป็นจุดกำาเนิดของ อเมซอน กูเกิล เฟซบุ๊ค แอร์
             บริษัทใหญ่ๆ ที่มีทั้งเงินทุนและเทคโนโลยีพร้อมสรรพจะ  เปเรซ เผยว่า ยุคปัจจุบันเป็นยุคเทคโนโลยีและ  บีเอ็นบี คนรุ่นใหม่แอบซุ่มพัฒนาเว็บไซต์หรือผลิตภัณฑ์
             ครองความเป็นเจ้าตลาด                          นวัตกรรม อาทิ ชีววิทยาสังเคราะห์ คอมพิวเตอร์ควอนตัม   ในโรงรถหรือหอพักนักศึกษาแล้วค่อยออกมาเปลี่ยนโลก
                คาร์โลตา เปเรซ นักประวัติศาสตร์เศรษฐกิจผู้แต่ง  บล็อกเชน โดรน รถยนต์ขับเคลื่อนกึ่งอัตโนมัติ ซึ่งบริษัท  อย่างสิ้นเชิง ส่วนปี 2007-2016 เป็นยุคแห่งสมาร์ทโฟน
             หนังสือ Technological Revolutions And Financial Capital   เทคโนโลยีใหญ่ๆ อย่าง เฟซบุ๊ค กูเกิล แอปเปิล จะมีความ  ที่ก่อให้เกิด อูเบอร์ วอทส์แอพ อินสตาแกรม ทวิตเตอร์
             : The Dynamics Of Bubbles And Golden Ages     สามารถในการผลิตสูงสุด เนื่องจากมีระบบอัลกอริทึ่มซึ่งเป็น  ที่เป็นแอพพลิเคชั่นที่ต้องมีในสมาร์ทโฟนทุกเครื่อง
             (การปฏิวัติด้านเทคโนโลยีและทุนทางเศรษฐกิจ : การ  ทรัพยากรที่มีค่าเป็นของตัวเอง                   ด้วยความที่อินเทอร์เน็ตกับสมาร์ทโฟนอยู่บน
             เปลี่ยนแปลงของฟองสบู่และยุคทอง) ระบุว่า วังวนของ  สอดคล้องกับบทวิเคราะห์ในเว็บไซต์ TechCrunch ที่  พื้นฐานของดิจิทัลทั้งหมด ไม่จำาเป็นต้องมีหน้าร้านหรือ
             เศรษฐกิจมักจะเกิดขึ้นเป็นวงจร                 มองว่า ในขณะที่เมืองใหญ่ๆ ทั่วโลกต่างพยายามผลักดันให้  สินค้าในเชิงกายภาพ ต้นทุนในการพัฒนาจึงไม่มาก
                แต่ละช่วงมีรูปแบบเดียวกันคือ การตั้งตัว ช่วงนี้จะเกิด  ตัวเองเป็นฮับของสตาร์ทอัพเหมือนย่านซิลิคอนวัลเลย์ของ  ดังนั้น ขอเพียงมีไอเดียเจ๋งๆ คนรุ่นใหม่ก็สามารถเขียน
             เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรม  สหรัฐ แต่ในซิลิคอนวัลเลย์เอง ยุคทองของสตาร์ทอัพ   โปรแกรมที่โดนใจคนทั่วโลกเพื่อทำาเงินหลายพันหลาย
             การผลิตและชีวิตประจำาวัน มีการลงทุนแบบเก็งกำาไรเพื่อให้  กลับผ่านจุดสูงสุดไปแล้ว โมเมนตัมของโลกกำาลังเหวี่ยง   หมื่นล้านเหรียญสหรัฐได้ไม่ยาก
             ได้ผลตอบแทนที่รวดเร็วอันนำามาซึ่งภาวะฟองสบู่ ตามมา  จากสตาร์ทอัพหรือเจ้าของกิจการรายเล็กกลับไปสู่บริษัท  แต่หลังจากยุคทองของอินเทอร์เน็ตและสมาร์ทโฟน
             ด้วยการเกิดวิกฤต ซึ่งอาจจะยาวนานระหว่าง 2-17 ปี เมื่อ  ยักษ์ใหญ่                               ซึ่งมีธุรกิจเจ้าใหญ่ครองตลาดแล้ว นับจากนี้ไปเทคโนโลยี
                          คาร์โลตา เปเรซ                                                                    ล้วนแต่เป็นประโยชน์กับองค์กรใหญ่ที่มีทั้งฐานข้อมูล
                                                                                                            จะเริ่มซับซ้อนและมีค่าใช้จ่ายในการดำาเนินการสูงขึ้น ซึ่ง


                                                                                                            และเงินทุนอยู่ในมือเรียบร้อยแล้ว ผิดกับสตาร์ทอัพ
                                                                                                            รายเล็กที่สายป่านสั้นกว่า
            ยุคทองสตาร์ทอัพกำาลังจะหมดไป                                                                    จะเข้ามาครองตลาดในช่วงทศวรรษหน้าไว้ อาทิ ปัญญา
                                                                                                              นอกจากนี้ TechCrunch ยังยกตัวอย่างเทคโนโลยีที่

                                                                                                            ประดิษฐ์ หรือเอไอ ที่นอกจากจะต้องใช้เทคโนโลยีระดับ
                                                                                                            สูงแล้ว ยังต้องมีฐานข้อมูลระดับใหญ่พออีกด้วย บริษัท
                                                                                                            ที่มีความพร้อมเหล่านี้ก็หนีไม่พ้นบิ๊กไฟว์อย่าง อเมซอน
                                                                                                            เฟซบุ๊ค กูเกิล แอปเปิล และไมโครซอฟท์
                                                                                                              ฮาร์ดแวร์ เช่น โดรน อินเทอร์เน็ตออฟธิง ที่ต้องใช้
                                                                                                            ความพยายามอย่างมากในการคิดสินค้าต้นแบบและมี
                                                                                                            ต้นทุนค่อนข้างสูง รถยนต์ไร้คนขับ ที่ยิ่งต้องใช้เงินลงทุน
                                                                                                            สูงกว่าฮาร์ดแวร์เสียอีก นอกจากเทสลาของ เอลอน
                                                                                                            มัสก์ แล้ว ก็มีเพียงค่ายรถยนต์เจ้าดังไม่กี่รายเท่านั้นที่
                                                                                                  THE
                                                                                                            ลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีนี้ หรือเทคโนโลยีความจริง
                                                                                                            เสมือน (วีอาร์) และความเป็นจริงเสริม (เออาร์) ที่ทั้ง
                                                                                              F
                                                                                                            ราคาสูงและมีความซับซ้อนมาก ปัจจุบันมีเพียงเจ้าใหญ่
                                                                                                            อย่าง กูเกิล ไมโครซอฟท์ แอปเปิลเท่านั้นที่ยังเดินหน้า
                                                                                                            พัฒนาต่อ ขณะที่สตาร์ทอัพอย่าง แมจิก ลีพ (Magic
                                                                                                            Leap) ที่ได้เงินสนับสนุนเกือบ 2,000 ล้านเหรียญสหรัฐ
                                                                                                            ทว่า ผ่านไปหลายปีแล้วก็ยังไม่มีผลิตภัณฑ์ออกจำาหน่าย
                                                                                                              ทั้งหมดทั้งมวลที่กล่าวมานี้ ส่งผลให้สตาร์ทอัพค่อยๆ
                                                                                                            หายไป หรืออาจถูกบริษัทรายใหญ่เข้าซื้อกิจการ แม้จะมี
                                                                                              UTURIST
                                                                                                            สตาร์ทอัพบางรายที่ยังเดินหน้าต่อไปได้ แต่ก็ยากเต็มที
                                                                                                            เมื่อเทียบกับยุคที่อินเทอร์เน็ตและสมาร์ทโฟนบูมใหม่ๆ
                                                                                                              ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ Y Combinator โครงการ
                                                                                                      ภาพ : www.carlotaperez.org  เมื่อ 5 ปีที่แล้วลูกศิษย์ยุคแรกของโครงการนี้ อาทิ แอร์
                                                                                                            บ่มเพราะสตาร์ทอัพชื่อดังที่เข้ายากพอๆ กับ ม.ฮาร์วาร์ด

                                                                                                            บีเอ็นบี ดรอปบ็อกซ์ สไตรพ์ ไต่ขึ้นสู่จุดสูงสุดของธุรกิจ
                                                                                                            และยังคงอยู่จนถึงทุกวันนี้ แต่ในช่วง 6 ปีที่ผ่านมา แม้ว่า
                                                                                                            Y Combinator จะสนับสนุนเงินลงทุนให้บรรดาสตาร์ท
                                                                                                            อัพมากกว่าช่วง 6 ปีแรกของโครงการถึง 2 เท่า แต่เรา
                                                                                                            แทบไม่ได้ยินสตาร์ทอัพรุ่นหลังๆ มีชื่อผงาดขึ้นแถวหน้า
                                                                                                            เลย
                                                                                                              เมื่อกระแสกำาลังเหวี่ยงกลับไปสู่บริษัทรายใหญ่อีก
                                                                                                            ครั้ง ท่ามกลางความกังวลว่าหุ่นยนต์จะเข้ามาแทนที่
                                                                                                            แรงงานมนุษย์ มนุษย์ออฟฟิศอย่างเราๆ คงต้องปรับตัว
                                                                                                            ครั้งใหญ่ด้วยการเพิ่มทักษะและศักยภาพการทำางานที่
                                                                                                            แม้แต่หุ่นยนต์ก็ทำาไม่ได้ เพื่อให้ตรงตามความต้องการ
                                                                                                            ของนายจ้าง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22