Page 3 - M2F - 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
P. 3

NEWS UPDATE                   3
        วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2561


                                           เผยกม.ต่างชาติคุ้มครอง




             ากกรณีสาวทอมทำาร้ายแฟนจน
          จบาดเจ็บสาหัส และเกิดกระแสโจมตี
          ผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ว่าไม่เข้าไปช่วยเหลือ                                                         ของผู้มองเหตุการณ์ข้างๆ ทาง ซึ่งจากการวิจัยพบว่า
          เหยื่อ ทำาให้เกิดการถกเถียงในหมู่คนไทย                                                             ยิ่งมีคนมุงดูเหตุการณ์มากเท่าไหร่ ความเต็มใจ
          ว่า ในสถานการณ์ดังกล่าวควรจะเข้าไป                                                                 ที่ให้ความช่วยเหลือยิ่งจะน้อยลงเท่านั้น เนื่องจาก
          แทรกแซงหรือไม่ เพราะหากไม่เข้าไป                                                                   ความลักลั่นตัดสินใจไม่ถูก และการเกี่ยงกันรับผิดชอบ
          ช่วยเหลือผู้ที่ถูกทำาร้าย จะมีความผิด                                                                 เมื่อปี 2016 เกิดเหตุชายวัย 83 ปีทรุดล้มลง
          ทางกฎหมาย แต่ถ้าเข้าไปช่วยอาจเสี่ยง                                                                กลางธนาคารแห่งหนึ่งในรัฐเอสเซน ประเทศ
          ที่จะถูกทำาร้าย หรือถูกต่อว่าไม่ให้เข้ามายุ่ง   ช่วยคน                                             เยอรมนี ต่อมาเสียชีวิตโดยผู้ที่อยู่ในธนาคาร
          เรื่องส่วนบุคคล                    ในอันตรายไม่ผิด                                                 เดินเข้าไปห้ามไม่ให้การช่วยเหลือเขา ต่อมาได้มีการ
             ปัญหานี้เกิดขึ้นในต่างประเทศเช่นกัน                                                             ตรวจสอบกล้องวงจรปิดและตามตัวผู้ที่ละเลยที่จะ
          แต่ว่าโครงสร้างกฎหมายที่มีความซับซ้อน                                                              ให้ความช่วยเหลือมาดำาเนินคดี ยกเว้นลูกค้าคนหนึ่ง
          เพื่อตอบรับสถานการณ์และคุ้มครอง                                                                    ที่โทรศัพท์แจ้งเจ้าหน้าที่ฉุกเฉิน
          ผู้ที่เข้าไปแทรกแซงในเวลาเดียวกัน
             ในประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายแบบ
          คอมมอนลอว์ เช่น อังกฤษและสหรัฐ
          มีหลักการ Duty to rescue หรือหน้าที่
          ที่ต้องช่วย บังคับให้ผู้ที่เห็นเหตุการณ์
          อันตรายของอีกฝ่ายหนึ่งต้องเข้าแทรกแซง
          สถานการณ์อันตรายที่คนแปลกหน้ากำาลัง
          เผชิญอยู่ ในสหรัฐมีอยู่ 10 รัฐที่กำาหนดให้
          คนที่อยู่ในเหตุการณ์ต้องช่วยคนแปลกหน้า
          ที่กำาลังเข้าตาจน อย่างน้อยต้องเรียก
          เจ้าหน้าที่บ้านเมืองมาระงับเหตุ
             ส่วนประเทศที่ใช้กฎหมายซีวิลลอว์
          เช่น ยุโรปและเอเชีย มักระบุว่า บุคคล
          ที่สามต้องเข้าช่วยเหลือคนแปลกหน้า
          ที่กำาลังตกอยู่ในอันตราย แต่ต้องช่วย
          อย่างสมเหตุสมผล ไม่เป็นภัยต่อตัวเอง
          และผู้อื่น แต่ส่วนใหญ่มักระบุให้แจ้ง
          เจ้าหน้าที่บ้านเมืองให้เข้ามาแก้ไข
          สถานการณ์มากกว่า ประเทศที่มีกฎหมาย
          กำาหนดชัดในเรื่องนี้ เช่น เยอรมนี
          มีข้อกำาหนดให้เข้าช่วยเหลือบุคคลที่กำาลัง
          อยู่ในอันตราย หากไม่ช่วยเหลือจะมี
          ความผิด โดยที่ผู้ให้ความช่วยเหลือจะได้
          รับการคุ้มครองทางกฎหมายหากมีเจตนา
          ที่ดี แต่ถ้าไม่เข้าไปช่วยเพราะมีเหตุผล
          จำาเป็น (เช่น กลัวเลือด) กฎหมายก็
          ไม่สามารถเอาผิดได้
             หลักการให้ความคุ้มครองทางกฎหมาย
          กับผู้ช่วยเหลือ เรียกว่า Good Samaritan
          Laws หรือกฎหมายผู้ที่มีใจกุศล เพื่อ
          คุ้มครองบุคคลที่สามให้เกิดความแน่ใจว่า
          จะไม่ถูกฟ้องกลับหากเข้าไปแทรกแซง
          สถานการณ์ มีใช้ในระบบกฎหมายแบบ
          คอมมอนลอว์ เช่น ออสเตรเลีย และ
          แคนาดา รวมถึงจีน ซึ่งก่อนหน้านี้มีปัญหา
          คนแปลกหน้าไม่ยอมช่วยเหลือกัน เพราะ
          จะถูกฟ้องกลับ จนต้องผ่านกฎหมาย
          คุ้มครองในปี 2017
             อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการกำาหนด
          ตัวบทกฎหมายให้ความช่วยเหลือและ
          มีมาตราคุ้มครองผู้ให้ความช่วยเหลือ แต่
          สังคมก็ยังเมินเฉยต่อเรื่องอันตรายต่อ
          บุคคลแปลกหน้า เพราะพฤติกรรมสังคม
          ที่เรียกว่า Bystander effect หรือปฏิกิริยา
   1   2   3   4   5   6   7   8