Page 9 - M2F - 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
P. 9
NEWS UPDATE 9
วันพุธที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
SME เอาใจอีสานบ้านเฮา
เทงบ6หมื่นล.
เศรษฐกิจ
เอสเอ็มอีมีปัญหา พัฒนาระบบคมนาคม
ยังไม่เข้าถึงแหล่งทุน
ธปท.เผยเอสเอ็มอีไทยเข้าถึงสินเชื่อจากแบงก์พาณิชย์เพียง 17%
จากเอสเอ็มอี 3 ล้านราย เป็นหนี้เอ็นพีแอล 250,000 ล้าน
น.ส.จารีย์ ปิ่นทอง นักวิจัยอาวุโส สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย
อึ๊งภากรณ์ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยถึงมุมมองสินเชื่อ
ธุรกิจไทยว่า ในปัจจุบันมีเอสเอ็มอีมากกว่า 3 ล้านราย แต่พบว่ามีเพียง
17% จากเอสเอ็มอีทั้งหมด หรือประมาณ 520,000 ราย ที่เข้าถึงสินเชื่อ
จากธนาคารพาณิชย์ และยังพบว่า การปล่อยสินเชื่อยังกระจุกตัว
อยู่ในกลุ่มบริษัทขนาดใหญ่ โดยเฉพาะภาคการผลิต
ทั้งนี้ มีเอสเอ็มอีขนาดเล็กจำานวนมากที่ยังประสบปัญหาในการ ตามมาตรฐาน ICAO
เข้าถึงแหล่งเงินทุน และยังมีข้อจำากัดในการเข้าถึงเทคโนโลยี ตลาด อย่างไรก็ตาม ที่ภาคเอกชน
ส่งผลให้เอสเอ็มอีจำานวนมากไม่สามารถขยายกิจการ หรือเติบโต เสนอให้พัฒนาสนามบินเลิงนกทา
เป็นธุรกิจขนาดใหญ่ได้ ภาครัฐและธนาคารจะต้องนำาปัจจัยอื่นมา ครม.สัญจร เทงบพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานกลุ่มอีสาน จ.ยโสธร นั้น ครม.ให้ไปศึกษาความคุ้มค่าเมื่อเทียบกับ
พิจารณาในการให้สินเชื่อเอสเอ็มอี เช่น การสร้างเครดิตสกอริ่ง ตอนล่าง 2 ทางบก ราง อากาศ 59,000 ล้าน การลงทุนพัฒนาสนามบินมุกดาหาร ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่
การนำาการชำาระหนี้ค่าสาธารณูปโภค (ค่าน้ำา ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์) ที่ตรง นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รมว.คมนาคม เปิดเผยว่า ชายแดนระเบียงเศรษฐกิจตะวันตก-ตะวันออก
เวลา มาคำานวณหรือพิจารณาการให้สินเชื่อกับบริษัทขนาดเล็กด้วย ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) อย่างเป็นทางการนอก สำาหรับระบบรางให้เร่งรัดโครงการก่อสร้างรถไฟ
นอกจากนี้ พบว่าผู้ประกอบการที่ไม่ได้เข้ามากู้เงินกับธนาคาร สถานที่ (ครม.สัญจร) ที่ จ.อุบลราชธานี ได้เห็นชอบ ทางคู่เส้นทางจิระ-อุบลราชธานี วงเงินลงทุน 36,800
พาณิชย์ ประกอบด้วย ผู้ที่มีความต้องการสินเชื่อ แต่ไม่ได้รับสินเชื่อ ให้ดำาเนินโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของ ล้านบาท คาดว่าจะเข้า ครม.ในเดือน ต.ค.นี้ และอนุมัติ
จากธนาคารพาณิชย์ และผู้ประกอบการที่ไม่ได้กู้ผ่านธนาคาร เพราะ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ซึ่ง ให้ศึกษาเส้นทางใหม่ 3 เส้นทาง เพื่อเชื่อมระบบราง
มีช่องทางอื่นในการระดมทุน เช่น สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ประกอบด้วย จ.อุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ และ ภาคอีสานตอนล่างกับอีสานตอนบน ได้แก่ เส้นทาง
สถาบันการเงินชุมชน เป็นต้น อำานาจเจริญ รวมทั้งสิ้น 19 โครงการ วงเงินลงทุนรวม ศรีสะเกษ-ยโสธร-ร้อยเอ็ด วารินชำาราบ-อำานาจเจริญ-
“ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ที่เข้าถึงแหล่งเงินได้มากกว่า เนื่องจากมี 59,000 ล้านบาท โดยทยอยดำาเนินการตามขั้นตอน มุกดาหาร และอุบลราชธานี-ช่องเม็ก
หลักทรัพย์ค้ำาประกันสูงกว่า รวมถึงความต้องการเงินทุนที่สูงกว่าด้วย” ที่แตกต่างกัน เริ่มดำาเนินการตั้งแต่ปี 2562-2567 นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า
น.ส.จารีย์ กล่าว ทั้งนี้ ในส่วนโครงการคมนาคมด้านอากาศ โครงการ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้มอบหมาย
สำาหรับสถานการณ์หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (เอ็นพีแอล) ของ สนามบิน จ.อุบลราชธานี ครม.ได้รับข้อเสนอเอกชน ให้เป็นหัวหน้าทีมขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรม
เอสเอ็มอีนั้น ณ ม.ค. 2561 พบว่า หนี้เอ็นพีแอลของเอสเอ็มอี ในพื้นที่ที่ขอให้เลื่อนโครงการบางส่วนดำาเนินการเร็วขึ้น ชีวภาพของไทย หรือไบโออีโคโนมี พื้นที่ภาคอีสาน
อยู่ที่ 251,000 ล้านบาท หรือ 6.22% ของยอดสินเชื่อคงค้าง จากจำานวน เช่น โครงการอาคารจอดรถ โครงการก่อสร้างแท็กซี่เวย์ ตอนล่างทั้ง 4 จังหวัด เพื่อช่วยเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ
ผู้ประกอบการที่มีหนี้เสีย 42,094 ราย ซึ่งพบว่า กลุ่มที่มีหนี้เสีย สะพานเทียบเครื่องเพิ่มจาก 2 เป็น 4 สะพาน หลุมจอด และต่อยอดเพิ่มศักยภาพของประเทศให้เป็นศูนย์กลาง
ค่อนข้างสูง คือ ธุรกิจเหมืองแร่มีเอ็นพีแอลถึง 47.19% ก่อสร้าง เครื่องบินเพิ่มจาก 5 เป็น 10 หลุมจอด ปรับปรุงทาง ด้านอุตสาหกรรมชีวภาพของอาเซียนในอนาคต ตาม
มีหนี้เสีย 7.6% และอุตสาหกรรมมีหนี้เสีย 7.01% เข้าออก และพัฒนาระบบตรวจเช็กในสนามบินให้เป็นไป ข้อเสนอของเอกชนในพื้นที่