Page 15 - M2F - 10 เมษายน พ.ศ. 2561
P. 15

WORK & LIFE 15
        วันอังคารที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2561




          BUSINESS
             ID  L

























                แอดมหา’ลัยยังเก๋ได้อีก
















                                                         เพราะบางคณะที่ “ไม่ทำารายได้” มักจะถูกกดดันให้ไล่  ในคลิปโปรโมทนี้เน้นสร้างแรงบันดาลใจและทำาให้
                                                         คณาจารย์ออก สั่งให้ลดสถานะเป็นภาควิชา ดังเช่นที่เกิดขึ้น คนนอกรู้ว่า การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของวิชายากๆ จำาพวกนี้
                                                         กับภาควิชาปรัชญา ม.ศิลปากร ที่ถูกลดระดับลงเป็นสาขา   มันดูเท่ขนาดไหน นี่คือจุดขายที่คณะวิทยาศาสตร์แห่ง
                                                         (ดูข่าวเรื่อง “อ.คมกฤช” วิจารณ์ ม.ศิลปากร น่าอับอายเปลี่ยน ม.โทโฮกุต้องการจะสื่อ
                                                         ภาควิชาปรัชญาเป็นเพียงสาขา - อ่านต่อได้ที่ : https://www.  แม้ว่ามันจะขัดกับคาแรคเตอร์ของนักวิชาการ แต่เพื่อ
                                                         posttoday.com/social/general/545108)          ความอยู่รอดขององค์กรและองค์ความรู้ ครูบาอาจารย์ก็ต้อง
                                                            ความอยู่รอดของคณะจึงต้องอาศัยไอเดียและนวัตกรรม สลัดคราบเนิร์ดมาเป็นไอดอลกับเขาเหมือนกัน
                                                         ไม่ต่างกับการทำาธุรกิจ หาไม่แล้วจะ “เจ๊ง” เอาง่ายๆ โดยมี  นอกจากแอดมหาวิทยาลัยจากญี่ปุ่นที่กำาลังเป็นที่สนใจ
                                                         ความท้าทายอยู่ที่ความเป็นนักวิชาการของคณาจารย์ ที่  ในเวลานี้แล้ว ที่สหรัฐยังมีแอดเจ๋งๆ จากสายนี้อยู่ไม่น้อย
                                                         ไม่ค่อยจะถนัดกับการโปรโมทตัวเองสักเท่าไหร่    ถึงขนาดมีเวทีแจกรางวัลโฆษณาด้านการศึกษา หรือ
                                                            ถ้าไม่ถนัด เราขอแนะนำาให้ดูแอด (โฆษณา) ตัวล่าสุดของ EduAdawards ซึ่งแจกรางวัลกันมานานถึง 33 ปีแล้ว แสดง
                                                         คณะวิทยาศาสตร์แห่ง ม.โทโฮกุ ประเทศญี่ปุ่น ที่สร้างจุดขาย ให้เห็นถึงการต่อสู้ของธุรกิจการศึกษาในสหรัฐ ที่จะต้องงัด
                                                         ได้คูลสุดๆ จนบางคนที่ได้เห็นอาจอยากกลับเข้าไปเรียน  อาวุธการตลาดมาใช้อย่างเต็มที่
                                                         อีกครั้ง                                         หาไม่แล้วจะถูกการแข่งขันในโลกทุนนิยมเบียดจนตก
                                                            ม.โทโฮกุ เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐอันดับต้นๆ ของประเทศ  กระแสความเปลี่ยนแปลง
                                                         และติดอันดับท็อป 50 ของโลก มีงบประมาณสนับสนุนจาก
                                                         ภาครัฐหลายพันล้านเหรียญสหรัฐ แต่ถึงขนาดนี้แล้วยังต้อง
                                                         มีการประชาสัมพันธ์ที่น่าดึงดูดใจพอๆ กับมหาวิทยาลัยเอกชน
                                                         หรือมหาวิทยาลัยกึ่งเอกชนกึ่งรัฐที่ต้องหาทุนมาเลี้ยงตัวเอง
              กวันนี้มหาวิทยาลัยกลายเป็นองค์กรที่แสวงหาผลกำาไร  ทางสำานักบัณฑิตวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ จัดทำาคลิป
           ทุในแบบธุรกิจเอกชนไปแล้ว แน่นอนว่าการแปรรูปองค์กร โปรโมทคณะแบบเท่ๆ ขึ้นมาชื่อว่า SCIENCE CHALLENGERS
           ด้านการศึกษาจะเป็นประเด็นวิวาทะร้อนแรงมาโดยตลอด   เปิดฉากมาก็เป็นคณาจารย์ 8 คนยืนอยู่ในวงกลมบูรณาการ
           ทั้งกับคนภายในและภายนอกองค์กร แต่ในโลกของทุนนิยม  หรือ Ouroboros เพื่อตอกย้ำาถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
           เราคงต้องยอมรับในระดับหนึ่งว่า การปรับตัวให้สถาบันการ ของวิทยาศาสตร์แขนงต่างๆ นั่นคือ ฟิสิกส์ มีตัวแทนคือ
           ศึกษาปฏิบัติงานคล้ายกับองค์กรธุรกิจมากขึ้น มีส่วนใน  ศาสตราจารย์ด้านเทคโนโลยีนิวตริโนและด้านคาร์บอน
           การกระตุ้นให้หลายฝ่ายกระตือรือร้นและสร้างนวัตกรรม  นาโนทูบส์ ด้านเคมีมีตัวแทนคือ ผู้บุกเบิกมิติใหม่ด้านโมเลกุล
           มากขึ้นด้วย                                   ด้านชีววิทยามีศาสตราจารย์ด้านเซลล์
             เมื่อมหาวิทยาลัยต้องอาศัยทุนและแสวงหาผลกำาไร การ  นอกจากนี้ ยังมีวิชาที่ไม่น่าจะทำาเงิน แต่มีความสำาคัญ
           แข่งขันกันเพื่อแย่งชิงแหล่งทุนจึงตามมา ซึ่งแหล่งทุนที่ว่านี้ อย่างยิ่งยวด คือ วิทยาภูเขาไฟ และผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดิน
           คือค่าหน่วยกิตของบรรดานักศึกษานั่นเอง ดังนั้น การทำา ไหวทางทะเล วิชาดาราศาสตร์ และคณิตศาสตร์ วิชาเหล่านี้
           อย่างไรให้ได้นักศึกษามากที่สุดและมีกำาลังทรัพย์พร้อมจะจ่าย มักจะเป็นเป้าหมายของการถูกยุบเป็นพิเศษ เพราะหางาน
           มากที่สุด จึงเป็นโจทย์ที่มหาวิทยาลัยต้องตีโจทย์ให้แตก หาก ทำาได้ยาก แต่บุคลากรด้านนี้ก็หาได้ยากเช่นกัน ดังนั้น การ
           คิดจะอยู่รอด                                  จะดึงให้ผู้สนใจเข้ามาเรียนวิชาประเภทนี้จึงเป็นความท้าทาย
             เอาเข้าจริงแล้ว การแข่งขันนี้ยังพ่วงไปถึงระดับคณะ  เอามากๆ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20