Page 2 - M2F - 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
P. 2

2         NEWS UPDATE                                                                                                   วันจันทร์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
                                                                   วอนเทพช่วย





                                               IN BRIEF



        สิ้นนักเดินบนดวงจันทร์คนที่4

           อลัน บีน นักบินอวกาศคนที่ 4 ของโลกที่ได้เดินบนดวงจันทร์   พิทักษ์ป่าชายเลน
        เสียชีวิตอย่างสงบในวัย 86 ปี เมื่อวันเสาร์ที่ 26 พ.ค. ตามเวลา
        ท้องถิ่นที่รัฐอินเดียนา หรือวานนี้ตามเวลาประเทศไทย โดยบีนเป็น
        สมาชิกของภารกิจ “อพอลโล 12” ซึ่งเป็นภารกิจสำารวจร่อนลง
        จอดบนดวงจันทร์ครั้งที่ 2 ของนาซา โดยบีนเป็นนักบินอวกาศของ  ชาวเบนินในหมู่บ้านอาลอนโก พากันนำารูปเคารพของเทพผู้พิทักษ์ที่เรียกว่า ซังเบโต ไปติดตั้งยังจุดต่างๆ
        โครงการดังกล่าวจากทั้งหมด 12 คน ที่มีอายุยืนที่สุด นอกจาก   เพื่อขอพลังวิเศษจากเทพเจ้าช่วยปกป้องผืนป่าชายเลนให้รอดพ้นจากการตัดไม้ทำาลายป่า แต่เดิมเทพซังเบโต
        เป็นนักบินอวกาศแล้ว หลังเกษียณจากกองทัพและนาซา บีนยัง   เป็นเทพผู้ตรวจตราท้องถนนและชุมชน ตามความเชื่อในศาสนาโยรูบา หรือศาสนาท้องถิ่นในแอฟริกาตะวันตก
        ผันตัวไปเป็นศิลปินที่วาดภาพทริปการไปเยือนดวงจันทร์ของเขา
        ออกมาได้อย่างสวยงามและน่าประทับใจ

        เกือบพันล้านหยุดหายใจขณะหลับ

           ผลการวิจัยจากบริษัทเครื่องมือแพทย์ ResMed ที่นำาเสนอ
        ในที่ประชุมสมาคมโรคทรวงอกแห่งสหรัฐ (ATS) ระบุว่า ประชากร
        ทั่วโลกราว 936 ล้านคน มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ ซึ่งเพิ่ม
        จากการสำารวจขององค์การอนามัยโลกเมื่อปี 2007 ถึงเกือบ 10
        เท่าตัว ภาวะดังกล่าวไม่ได้เกิดเฉพาะกับผู้สูงอายุหรือผู้ชายที่มี
        น้ำาหนักเกินอย่างที่เคยเข้าใจกัน แต่สามารถเกิดได้กับคนทุกเพศ
        ทุกวัยทุกเชื้อชาติ และที่น่าตกใจคือ เกือบครึ่งหนึ่งของคนไข้ที่เพิ่ง
        ตรวจพบอาการเป็นผู้หญิง ทั้งนี้ ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ
        ส่งผลให้เกิดอาการเหนื่อยล้าระหว่างวัน ไปจนถึงโรคหัวใจ เบาหวาน
        โรคเครียด เป็นต้น

          WORLD IN DEPTH                                       ภาพ : เอเอฟพี



              แท้งเสรีที่ไอร์แลนด์                                                                                    ภาพ : เอเอฟพี



             เมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา ชาวไอร์แลนด์ลงประชามติยกเลิก
          กฎหมายห้ามการทำาแท้ง ด้วยคะแนนเสียง 66.4% ต่อ 33.6%
          หลังจากนั้นจึงมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญยกเลิกสิทธิ์ในชีวิตของ                                                           วันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม 2561
          ลูกในครรภ์ เพื่อเปิดทางให้ประชาชนทำาแท้งเสรีได้ ซึ่งผู้นำา
          การรณรงค์ให้แก้ไขกฎหมายคือ นายกรัฐมนตรี ลีโอ วารัดการ์                                                                 19,600  19,700
                                                                                                                                 19,253  20,200
          ที่กล่าวว่า “พันธะแห่งความละอายได้หมดไปแล้ว” ซึ่งเขาหมาย                                                                 ลดลง 50 บาท
          ถึงกฎหมายเดิมที่บีบให้ผู้หญิงที่ต้องการทำาแท้งต้องหลบๆ
          ซ่อนๆ หนีไปพึ่งพาแพทย์ที่ต่างแดน
             ในทางนิตินัยแล้ว ไอร์แลนด์เป็นประเทศโลกวิสัย หรือ Secular
          state แต่ที่ผ่านมาในทางปฏิบัติสังคมไอริชได้รับอิทธิพลทาง
          ศาสนาอย่างมาก แม้แต่รัฐธรรมนูญและกฎหมายเก่าก็สะท้อน     สเปนสาด‘เลือดวัว’ต้านการสู้วัว
          ศีลธรรมจรรยาของศาสนา ศาสนายังมีอิทธิพลต่อความคิดของ
          ประชาชนเพราะโรงเรียน โรงพยาบาล องค์กรการกุศลล้วนแต่       กลุ่มผู้ประท้วงการสู้วัว ร่วมกันจุดพลุแฟลร์เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนเลือดสัตว์ ที่ต้องพบจุดจบในสนามต่อสู้
          ดำาเนินการโดยศาสนจักรคาทอลิก ซึ่งห้ามการทำาแท้งเพราะถือเป็น  พร้อมกับชูคำาขวัญว่า “การสู้วัวคือความรุนแรง” ระหว่างการชุมนุมที่กรุงมาดริด ประเทศสเปน โดยได้รับ
          บาปหนัก อิทธิพลนี้ยืนยงอยู่ในภาคกฎหมายของไอร์แลนด์อย่าง  การสนับสนุนจากองค์กรพิทักษ์สัตว์ Animal Guardians และอีก 17 องค์กรเรียกร้องให้ยุติการสู้วัวทุกรูปแบบ
          ช้าที่สุดคือในทศวรรษที่ 80 มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 8 ระบุว่า
          “รัฐรองรับสิทธิ์ในการมีชีวิตของทารกในครรภ์ ในทำานองเดียวกับ       ภาพ : เอเอฟพี                   ญี่ปุ่น-รัสเซีย
                                                                                                               24,750
                                                                                                                      24,850
          สิทธิ์ในชีวิตของมารดา” หลังจากนั้นมีการลงประชามติเพื่อรับรอง                                         24,392  25,250
          ซึ่งประชาชนถึง 66.9% ยอมรับ                                                                       ใช้วัฒนธรรมเยียวยา
             แต่มีความเคลื่อนไหวเพื่อแก้ไขกฎหมายอย่างต่อเนื่อง และ
          เริ่มมีแรงเหวี่ยงหนักขึ้นในทศวรรษที่ 2010 จนกระทั่งมีการลง                                           ประธานาธิบดี วลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซีย ชนแก้วกับ
          ประชามติไปเมื่อวันที่ 25 พ.ค.ที่ผ่านมา ผลก็คือทั้งประเทศ (เว้น                                    นายกรัฐมนตรี ชินโซะ อาเบะ แห่งญี่ปุ่น ระหว่างพิธีเปิด
          จังหวัดเดียว) มีมติท่วมท้นให้เลิกบทแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 8                                      งานฉลองปีแห่งญี่ปุ่นในรัสเซีย หรือ Year of Japan
             การลงประชามติครั้งนี้ น่าจะสะท้อนว่าศาสนจักรน่าจะไม่มี                                         in Russia และได้จัดให้มีปีแห่งรัสเซียในญี่ปุ่นในเวลา
          บทบาทด้านศีลธรรมจรรยาในสังคมไอริชมากนักแล้ว แม้จะยัง                                              เดียวกัน เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหว่าง
          คงเรียกตัวเองเป็นชาวคาทอลิกและเข้าโบสถ์ แต่ชาวไอริชหัน                                            2 ประเทศ ทั้งยังช่วยฟื้นฟูความสัมพันธ์ที่ไม่มั่นคง
          มารับมาตรฐานทางจริยธรรมแบบโลกวิสัยสมัยใหม่ มองโลก                                                 นักของรัสเซียและญี่ปุ่นให้กลับมามีความหวังอีกครั้ง
          ทางวัตถุมากกว่าโลกหน้าหรือโลกทางจิตวิญญาณ                                                         โดยเฉพาะกรณีพิพาทเรื่องดินแดน
   1   2   3   4   5   6   7