Page 14 - M2F - 18 เมษายน พ.ศ. 2561
P. 14
14 WORK & LIFE วันพุธที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2561
UND BREAKER พวกเขาคาดไม่ถึง
การพบกันนี้เปลี่ยนชีวิตของทั้งคู่และคนยากไร้ในอินเดียอย่างที่
ปีหนึ่งๆ พันดารี กับ ธัมมิ ต้องทิ้งรองเท้าวิ่งไม่ต่ำากว่า 3-4 คู่ รองเท้า
เหล่านี้ต้องไปลงเอยในถังขยะเพื่อรอการย่อยสลายที่อาจต้องใช้เวลา
ฝั่ง ธัมมิ นั้น เขาเคยเจียดเงินอันน้อยนิดซื้อรองเท้าวิ่งนำาเข้าราคาสูง
GR นับสิบๆ ปี
คู่หนึ่ง แต่หลังจากใช้งานอย่างหนักเพียง 4 เดือนก็พัง ด้วยความเสียดาย
เขาพยายามซ่อมส่วนบนของรองเท้าด้วยเสื้อยืด แต่ก็ยืดอายุของรองเท้า
ได้อีกไม่นาน ธัมมิ ดัดแปลงรองเท้าอีกครั้งด้วยการแปลงรองเท้าผ้าใบเป็น
รองเท้าแตะ
การดัดแปลงรองเท้าผ้าใบของ ธัมมิ กลายเป็นไอเดียเริ่มต้นของ
Greensole
ช่วงแรกๆ ทั้งคู่ตระเวนไปตามโรงงานผลิตรองเท้ารายใหญ่ทั่วอินเดีย
เพื่อหาโรงงานขัดสีฉวีวรรณและแปลงโฉมรองเท้า และศึกษาเทคนิคการ
ผลิตรองเท้าคุณภาพดี
จากนั้นทั้งคู่ก็ช่วยกันพัฒนารองเท้าและเข้าแข่งขันในโครงการ
นวัตกรรมต่างๆ เพื่อหาเงินสนับสนุนการเดินหน้าการผลิต ก่อนที่เงินทุน
และเมนทอร์จะหลั่งไหลเข้ามา
ตั้งแต่เปิดตัว Greensole จำาหน่ายรองเท้าไปแล้วหลายหมื่นคู่ สามารถ
บริจาครองเท้าแตะให้ผู้ยากไร้ทั่วอินเดียโดยเฉพาะนักเรียนไปแล้ว
100,000 คู่ โดยได้รับเงินสนับสนุนจาก 40 องค์กรธุรกิจ แต่ละแห่งบริจาค
เงิน 3 เหรียญสหรัฐต่อรองเท้าที่บริจาค 1 คู่ เป็นค่าใช้จ่ายในการผลิต
ซึ่งเพียงพอให้ Greensole ผลิตรองเท้าบริจาคได้ 100,000 คู่ต่อปี
นอกจากนี้ Greensole ยังนำากำาไรที่ได้จากการจำาหน่ายรองเท้ามาสมทบ
การบริจาคด้วย
Greensole นับว่าเปลี่ยนชีวิตคนในชนบทได้ตามที่
รองเท้าที่ Greensole บริจาคไปนั้น
พันดารี และ ธัมมิ ตั้งใจ ทั้งคู่เผยว่า
เมื่อเด็กๆ ได้รองเท้าไปแล้ว ปรากฏว่า
รองเท้า อัตราการเข้าเรียนในโรงเรียนย่าน
ชนบทเพิ่มขึ้น ทำาให้แต่ละหมู่บ้านมี
อัตราการรู้หนังสือเพิ่มขึ้นในทางอ้อม
เนื่องจากรองเท้าทำาให้เด็กๆ เดินทาง
ได้สะดวกมากขึ้น
เปลี่ยนชีวิต
“ แต่ละปีเราทิ้งรองเท้ากว่า 350 ล้านคู่ ในขณะที่คนอีกกว่า
1,000 ล้านคน กลับไม่มีรองเท้าใส่” สถิติสองอย่างนี้เป็น
แรงบันดาลใจให้ ศรียัน พันดารี กับ ราเมศ ธัมมิ สองหนุ่มชาวอินเดีย
ผุดแบรนด์รองเท้าแตะจากรองเท้าวิ่ง Greensole (กรีนโซล) ที่สร้าง
ความรับรู้ถึงความสำาคัญของรองเท้าในวงกว้าง
รองเท้า Greensole เกิดขึ้นเมื่อปลายปี 2013 โดยสองหนุ่มนักศึกษา
ปี 2 ทั้งคู่เป็นนักวิ่งมาราธอนตัวยงที่รู้จักกันขณะซ้อมวิ่งมาราธอน
ชิงแชมป์แห่งชาติของอินเดียในเมืองมุมไบ
นอกจากนี้ ยังช่วยสิ่งแวดล้อมด้วยการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ที่จะเกิดจากการทิ้งรองเท้าเก่าๆ ได้กว่า 45,000 ปอนด์ ในขณะที่ธุรกิจก็ยังดำาเนิน
ต่อไปได้อย่างยั่งยืนเคียงข้างสังคม