Page 15 - M2F - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
P. 15

WORK & LIFE 15
        วันพฤหัสบดีที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2561























          ภาพ : Ceres Imaging


                                                                                                                   START up


                                                                                                                GENERATION






















                                           Ceres Imaging








                             ปัญญาประดิษฐ์จับผิดโรคพืช







               งค์การสหประชาชาติคาดว่าภายในปี                                   รัฐแคลิฟอร์เนีย                    พืช เมื่อเทียบกันแล้วถือว่าค่าใช้จ่ายถูกกว่า
           อ2030 หรืออีก 12 ปีข้างหน้า ประชากร                                     ปรากฏว่า Ceres Imaging เครื่อง   การใช้สารเคมีกำาจัดศัตรูพืช
           โลกจะเพิ่มจำานวนเป็น 8,500 ล้านคน ทำาให้                             ต้นแบบสามารถระดมเงินสนับสนุนจาก      ไมเคิล กอร์ ศาสตราจารย์ด้านชีววิทยา
           เกิดความวิตกทั่วโลกว่า อาหารที่เราผลิตได้                            นักลงทุนจนสามารถเปิดตัวทำาการตลาดได้  ศาสตร์และเกษตรกรรม จาก ม.คอร์เนลล์
           จะไม่เพียงพอเลี้ยงคนทั้งโลกได้ เนื่องจาก                             ในปี 2014                          เผยว่า อนาคตของปัญญาประดิษฐ์ใน
           ในขณะที่ความต้องการอาหารเพิ่มขึ้น โลก                                   การสำารวจไร่ของ Ceres Imaging จะ  วงการเกษตรกรรมถือว่าสดใสมาก แม้
           กลับมีพื้นที่เพาะปลูกน้อยลง ซ้ำาการทำา                               ใช้เซ็นเซอร์ติดขึ้นไปกับเครื่องบินแล้ว  เทคโนโลยีนี้อาจจะไม่ใช่ยาครอบจักรวาล
           เกษตรกรรมยังมีอุปสรรคมากมาย เช่น ดิน  ผลิตน้ำาตาลและเอทานอลจากอ้อยชื่อดังใน  สแกนภาพพืชผลทางการเกษตร แล้วส่ง  แต่ศาสตราจารย์ท่านนี้มองว่าภายใน 5-10
           ฟ้าอากาศและศัตรูพืช ทำาให้ผลผลิต   บราซิลและโคลอมเบีย                ภาพต่อให้ระบบปัญญาประดิษฐ์วิเคราะห์  ปี เกษตรกรไร่ข้าวโพดและถั่วเหลืองใน
           ทางการเกษตรของโลกลดน้อยลงไปอีก       ตอนที่กำาลังศึกษาที่ ม.สแตนฟอร์ด   ปัญหาของพืช เช่น เชื้อรา การขาดน้ำาหรือ  สหรัฐจะใช้เทคโนโลยีนี้อย่างแพร่หลาย
              ปัญหานี้จุดประกายให้ อัชวิน มัดจาฟคาร์   มัดจาฟคาร์ ได้เห็นเครื่องมือสำารวจข้อมูล  ปุ๋ย และปริมาณคลอโรฟิลล์ โดยเทคโนโลยี  อย่างไรก็ดี ปัญญาประดิษฐ์ยังมีข้อ
           หันมาสนใจเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรอย่าง  ระยะไกล โดยใช้คลื่นความถี่ละเอียดสูง  ของ มัดจาฟคาร์ สามารถกำาหนดจุดที่มี  จำากัดอยู่บ้าง เช่น สามารถวิเคราะห์ได้
           จริงจัง จนเกิดเป็น เซเรส อิเมจิง (Ceres   ขององค์การนาซา ที่ใช้สำารวจพืชพันธุ์  ปัญหาได้อย่างแม่นยำา ก่อนที่สายตาเปล่า  เฉพาะข้อมูลที่ได้รับการฝึกฝนมาแล้ว
           Imaging) สตาร์ทอัพจากรัฐแคลิฟอร์เนีย  และสภาพภูมิอากาศท้องถิ่นแถบอเมซอน   ของมนุษย์จะสังเกตเห็นด้วยซ้ำา  เท่านั้น ไม่สามารถวิเคราะห์โรคที่อยู่นอก
           ของสหรัฐ ที่ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์  เจ้าตัวเผยว่า “ผมคิดว่าเครื่องมือนี้จะมี  “เกษตรกรไม่มีเวลาพอสำาหรับการเดิน  เหนือจากข้อมูลที่ได้รับการตั้งโปรแกรมไว้
           วิเคราะห์สุขภาพพืชผักก่อนที่จะแสดง  ประโยชน์มากถ้านำามาใช้ในการเกษตร”   ตรวจโรคพืชไปทั่วไร่ แต่ข้อมูลของเราช่วย  ปัจจุบันนี้ เทคโนโลยีของ Ceres
           อาการของโรคให้เจ้าของไร่เห็น       ในปี 2013 จึงชวนเพื่อนๆ วิศวกรจาก  ให้พวกเขารู้ว่า พืชจะเกิดโรคได้หลาย  Imaging ถูกนำาไปใช้ในไร่องุ่นทำาไวน์ ถั่ว
              มัดจาฟคาร์ เจ้าของดีกรีด้านวิศวกรรม  มหาวิทยาลัยเดียวกันระดมสมองคิดค้น  สัปดาห์ก่อนที่พวกเขาจะเห็นด้วยซ้ำา” ซีอีโอ  พิสตาชิโอ อัลมอนด์ ในออสเตรเลีย
           ไฟฟ้าและปริญญาโทด้านการบริหารธุรกิจ   อุปกรณ์ต้นแบบตรวจวัดความต้องการ   หนุ่มเผย                        ไร่ถั่วเหลือง ข้าวโพด มันฝรั่ง ในสหรัฐ
           เริ่มทำางานเกี่ยวกับการเกษตรในอเมริกาใต้  ใช้น้ำาในย่านเซ็นทรัลวัลเลย์ ซึ่งเป็น   ส่วนค่าใช้จ่ายสนนราคาอยู่ที่ 6-10   ล่าสุดเมื่อปลายเดือนที่แล้วก็เพิ่งระดมทุน
           ด้วยการทำางานให้ โคซาน (Cosan) บริษัท  แหล่งปลูกอัลมอนด์และวอลนัทของ   เหรียญสหรัฐต่อ 2.5 ไร่ ขึ้นอยู่กับชนิดของ  รอบใหม่ได้อีก 25 ล้านเหรียญสหรัฐ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20